Economic Measures
วัตถุประสงค์ของการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการมลพิษ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ผลิตและผู้บริโภคให้ลดมลพิษ เช่น
บำบัดน้ำทิ้งก่อนปล่อยเพื่อลดปริมาณน้ำเสีย
การลดใช้ถุงพลาสติกเพื่อลดขยะมูลฝอย
ปิดไฟเพื่อลดการใช้พลังงาน
การใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน
การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
สร้างแรงจูงใจให้ ผู้ผลิตและผู้บริโภคปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้ลดมลพิษเพิ่มขึ้น เช่น
เก็บภาษีมลพิษเพิ่มข้ึนตามปริมาณน้าเสีย หรืออากาศเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ผู้ก่อมลพิษต้องหาวิธีการท่ีจะลดปริมาณการปล่อยของเสีย
โดยอาจจะเปลี่ยนวัตถุดิบ เปล่ียนวิธีการผลิต นำเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดมาใช้ เป็นต้น
มาตรการอุดหนุน (Subsidy) คือ มาตรการที่สนับสนุนการลด มลพิษหรือช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม อ่านต่อ...
การวางประกันความเสี่ยงหรือความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม (Performance Bonds) คือ การเก็บ ค่าประกันความเสี่ยงจากผู้ก่อให้เกิด อ่านต่อ...
การใช้อัตราภาษีที่แตกต่างกัน (Tax Differentiation) เป็นการเก็บเงินจากผู้บริโภคเพื่อจูงใจ อ่านต่อ...
ระบบมัดจำคืนเงิน (deposit - refund system) เป็นการคืนเงินมัดจำ อ่านต่อ...
ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ (Product Surcharge) คือ การเก็บเงินจากผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดมลพิษ อ่านต่อ...
การซื้อขายหรือโอนใบอนุญาตการปล่อยมลพิษ (Marketable or Tradable Permits) คือ ระบบที่ยอมให้มีการซื้อขายสิทธิ อ่านต่อ...
ค่าภาษีการปล่อยมลพิษ (Pollution Tax หรือ Pollution Fees) คือ อ่านต่อ...
ค่าปรับ (Fines) คือ เงินที่ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย อ่านต่อ...
ค่าธรรมเนียมการใช้ (User Fees หรือ User Charges) คือ เงินที่จ่าย อ่านต่อ...
ค่าธรรมเนียมการอนุญาต (Administrative Fees) คือ เงินที่จะเรียกเก็บจากผู้ประกอบการ อ่านต่อ...
ที่มา: ส่วนเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม กองแผนงานและประเมินผล กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2558). มารู้จัก. . .มาตรการเศรษฐศาสตร์ในการจัดการมลพิษ. http://www.pcd.go.th